ทารกแรกเกิด

ข้อมูล ทารกแรกเกิด ที่ควรรู้
ทารกแรกเกิด คือ ทารกที่มีอายุตั้งแต่ 4 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน ทารกแรกเกิดนั้น เป็นวัยที่มีภาวะปกติที่จะไม่พบในวัยอื่นๆ โดยภาวะเหล่านี้นั่นเอง ที่จะทำให้พ่อแม่เกิดความวิตกกังวล เพราะว่าอยู่ในช่วงวัยที่เจ็บป่วยได้ง่าย รวมทั้งมีอัตราการเสียชีวิตที่ค่อนข้างสูง ทำให้ต้องระมัดระวัง และคอยดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ซึ่งอาจทำให้เจ็บป่วยได้ง่าย โดยการทำให้ทารกแรกเกิดนั้น มีสุขภาพที่แข็งแรง พ่อแม่จะต้องทำการใส่ใจ และดูแล รวมทั้งมีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับทารกหายใจเร็ว pantip ซึ่งจะมีลักษณะต่างๆ อย่างน้ำหนักทารก ซึ่งจะเฉลี่ยอยู่ที่ 3,000 กรัม รวมทั้งลำตัวที่มีความยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ศีรษะจะมีลักษณะใหญ่กว่าลำตัว โดยเส้นรอบศรีษะนั้นจะอยู่ที่ประมาณ 35 เซนติเมตร และมีผมปลุกคุมศรีษะ โดยจะมีผิวแดงหรือชมพู มีขนอ่อนปกคลุมตามไหล่ และลำตัวได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นลักษณะภายนอก ที่พ่อแม่นั้นจะต้องทำความเข้าใจ และคอยสังเกต พฤติกรรมของทารก เช่น เมื่อมีเสียงดังจะ ทารกตัวเหลือง วิธีแก้ ทารกจะสะดุ้งตกใจ และจะกางแขนและขาออก จากนั้นจะโอบเข้าหากัน พร้อมกับส่งเสียงร้องออกมา เป็นต้น โดยพฤติกรรมเหล่านี้ ถือว่าเป็นภาวะปกติ ซึ่งพ่อแม่สามารถวางใจได้ เลี้ยงลูก
วิธีการดูแล ทารกแรกเกิด

ในวิธีการดูแลทารกแรกเกิดผู้หญิงนั้น จะมี 2 รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการดูแลทั้งด้านร่างกาย และการดูแลทางด้านจิตใจ อย่างทางด้านร่างกายนั้น ก็จะเป็นการดูแลในเรื่องของโภชนาการอาหาร เช็ดตัวลูก ทุก กี่ ชั่วโมงการให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยสถานที่อยู่อาศัยจะต้องมีอากาศถ่ายเท มีสุขอนามัยที่ดี และสะอาด ในเรื่องของการของการดูแลสุขภาพ ของร่างกายทารกให้อบอุ่นและแข็งแรง เป็นต้น การดูแลวัยทารกในด้านจิตใจนั้น คือการเลี้ยงทารกแรกเกิดหายใจเร็ว เกิดจากด้วยความรัก และความอบอุ่น ซึ่งการให้ความรัก และความอบอุ่นแก่ทารกนั้น จะส่งผลให้เขาเติบโต และกลายเป็นผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพอยู่ในสังคมการเลี้ยงทารกแรกเกิด-1เดือน
ภาวะที่พบบ่อยในทารกแรกเกิด

- การสะอึก โดยในเด็กทารกสะอึกมักจะพบการสะอึก เนื่องจากการทำงานของกระบังลมที่ ยังไม่สมบูรณ์หลังจากดูดนม จึงแก้ได้โดยการจับนั่งหรือพาดบนบ่า เพื่อทำการไล่ลมโดยไม่จำเป็นต้องให้เด็กแรกเกิดสะอึก ดื่มน้ำเพื่อลดการสะอึก ซึ่งอาการเหล่านี้จะหายไป เมื่อทารกอายุ 1-2 เดือน
- ลิ้นจะเป็นฝ้าขาว ซึ่งปกติแล้วลิ้นของทารกนั้น จะพบว่าลิ้นนั้นมีฝ้าขาวบางๆ กระจายอยู่บริเวณกลางลิ้น ซึ่งจะไม่มีปัญหาต่อการดูดนมของทารก โดยถ้าหากพบว่าฝ้าที่กลางลิ้นนั้น มีความหนา หรือเป็นแผ่นหนาติดบริเวณลิ้น หรือกระพุงแก้ม อาจทำให้ทารกนั้น เกิดอาการอยากนมน้อยลง และมีเการท้องเสียร่วมด้วยการเปลี่ยนตามวัย
- การสะดุ้งหรือการผวา จะเกิดขึ้นเมื่อได้ยินเสียงดัง หรือได้รับการสัมผัส ซึ่งทารกจะตอบสนองโดยการกางแขนกางขาออก และแบมือ หลังจากนั้นทารกจะทำการโอบแขนเข้าหากัน ซึ่งเป็นอาการปกติของทารก สามารถบอกได้ว่าระบบประสาทของทารกนั้นปกติดี ทารกเป็นหวัด
- การบิดตัว ทารกนั้นจะมีลักษณะการบิดตัวเหมือนผู้ใหญ่ มีการเคลื่อนไหวลำตัวขณะที่ตื่นนอน มีการเหยียดแขนเหนือศรีษะ สะโพก และข้อเข่า ในทารกบางคน อาจพบว่ามีการบิดตัวจนหน้าแดง หรือทำเสียงอืดอาดระหว่างบิดตัว ซึ่งลักษณะนี้ถือว่าเป็นลักษณะที่ปกติของทารกน้ำหนักเด็กแรกเกิด
เวลาการนอนของทารก
ในทารกวัยตั้งแต่ 0-1 ปีนั้น โดยทั่วไปแล้วการนอนของทารกวัยแรกเกิด จะนอนไม่เป็นเวลา ซึ่งจะใช้เวลาในการนอน 70-80% หรือหากคิดเป็นชั่วโมงแล้วก็เราราวๆ 16-18 ชั่วโมง ต่อวันซึ่งการนอนของทารกนั้น จะนอนด้วยกันหลายรอบ รอบนึงตกอยู่ที่ 1-2 ชั่วโมง โดนเด็กวัยทารกจะไม่สามารถแยกเวลากลางวัน หรือกลางคืนได้ และจะมีการปรับเวลานอนให้มากขึ้นต่อรอบ เมื่ออายุได้ราว 4-6 เดือน หลังจากนั้นจะปรับเวลานอนกลางวันน้อยลง และมานอนตอนกลางคืนมากขึ้นวิธีลดไข้ทารกแรกเกิด

เคล็ดลับการดูแล ทารกแรกเกิด
- นมแม่สำคัญที่สุด โดยการให้กินนมแม่นั้น เป็นอาหารที่สำคัญที่สุดสำหรับทารกแรกเกิด ถึง 3 เดือนแรก pantip เพราะนมแม่อุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ และครบถ้วน สร้างภูมิคุ้มกันต่างๆ เพื่อต้านทานโรค โดยแนะนำว่าให้ทารกนั้น กินนมแม่จนถึง 6 เดือน และหลังจากนั้นให้กินนมแม่ร่วมกับอาหารอื่นๆ จนกว่าอายุจะครบ 2 ปี
- ต้องให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยทารกช่วงวัยแรกเกิด จนถึง 6 เดือนนั้น จะต้องใช้เวลาในการนอนพักผ่อน 10-20 ชั่วโมง ต่อวัน ซึ่งจะช่วยให้สมอง และร่างกายนั้นมีพัฒนาการทารกอย่างเต็มที่

- สร้างภูมิคุ้มกันด้วยวัคซีน ซึ่งทารกในช่วงวัยแรกเกิดจนถึง 1 ปี นั้น ภูมิคุ้มกันยังคงน้อยอยู่ ให้ทารกนั้นได้รับวัคซีนตามที่แพทย์นัด เพื่อกระตุ้นภูมิร่างกายให้แข็งแรง ทำให้เจ็บป่วยน้อยลง น้ำหนักเด็กทารก
- กอดลูกบ่อยๆ การกอดลูกนั้น จะช่วย ให้ลูกมีความสุข และมีจิตใจที่มั่นคง รวมทั้งเวลาที่ลูกร้องนั้น จะต้องทำการสังเกตว่าลูกน้อยนั้นต้องการอะไร ให้คอยสังเกตว่าลูกหิว ร้อน หรือสบายตัวหรือไม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของทารก และช่วยสร้างความมั่นคงทางอารมณ์ให้แก่ลูกน้อย
- เตรียมของใช้ที่จำเป็นให้พร้อม เช่น เสื้อผ้า ผ้าอ้อม ที่นอน ผ้าห่ม ให้พร้อมก่อนที่ลูกจะออกจากโรงพยาบาล ซึ่งจะได้ไม่ต้องไปหาซื้อให้วุ่นวาย
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม
หากคุณต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลทารกแรกเกิด คุณสามารถเยี่ยมชมเว็บไซต์ ชมรมผู้ปกครอง เพื่อดูคำแนะนำและข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขา
แหล่งข้อมูลภายนอก:
American Academy of Pediatrics – ดูแลทารกใหม่เกิด